Posts

สนับสนุนการเขียน รับไฟล์เพลงฟรี 3 เพลงครับ

Image
       โพสท์เปิดหมวกใหม่นะครับ [และเป็นโพสท์ปักหมุดของหน้าโปรไฟล์] เนื่องจากมีบางท่านไม่ได้หลังไมค์มารับไฟล์เพลงไป แม้ผมจะขอบคุณอย่างสูงแต่ก็อยากให้ได้เพลงไปฟังด้วยนะครับ ก็เลยเอาอย่างนี้กันดีกว่า ผมอัพโหลดเอาไว้ให้เลยที่กูเกิลไดรฟ์ครับ ลิงค์นี้  Google Drive Folder ท่านที่เคยสนับสนุนแล้ว + ท่านที่อยากฟังเพลงเฉย ๆ + ท่านที่ต้องการสนับสนุน สามารถดาวน์โหลดกันด้วยตนเองได้ตามอัธยาศัยครับ พร้อม //ไลเซนส์เฉพาะกิจ// ที่ผมทำไว้ให้เป็นการเจาะจงสำหรับกิจกรรมเปิดหมวกนี้ (โปรดเซฟไฟล์ภาพโปสเตอร์เอาไว้อ้างอิงตัวไลเซนส์นะครับ หรือไฟล์ตัวใหญ่ในไดรฟ์ก็ได้ครับ)      อยากให้ได้ดูรายละเอียดของไลเซนส์กัน เพราะผมเขียนอนุญาตไว้หลายแบบสำหรับการใช้ในเชิงพาณิชย์ (ไม่ได้ตั้งเรทหรือเรียกเก็บค่าไลเซนส์เพิ่มเติม ใจแลกใจล้วน ๆ ครับ ท่านที่อยากฟังเพลงเฉย ๆ หากต้องการหรือสะดวกจะสนับสนุนภายหลังหรือไม่ก็ไม่เป็นไรครับ เอาเพลงไปฟังและไปใช้ได้ครับ อย่างน้อยที่สุดฝากช่วยกันแชร์โพสท์นี้ออกไปกันเป็นประจำก็จะขอบคุณมากครับ) การเขียนของผมส่วนใหญ่หรือโดยกิจวัตรจะเขียนที่เฟซบุ๊กเป็นหลักนะครับ

กำลังปรับปรุงกราฟิกของเว็บนะครับ

      ในเมื่อต้องใช้เป็นนามบัตรเสมือน ก็จะต้องปรับปรุงหน้าตาเว็บตัวเองสักหน่อยหลังจากที่ไม่ได้เข้ามาใช้งานเท่าไหร่เพราะอยู่กับเฟซบุ๊กโปรไฟล์ซะเป็นหลักครับ     ซึ่งก็คงใช้เวลาสักครู่ใหญ่ ใครผ่านมาอ่านก็ไว้แวะมาเยี่ยมเยียนกันอีกครั้งนะครับ, ขอบคุณมากครับ
ไม่ได้เขียนอะไรในเว็บตัวเองนานถึงสามปีเลย ส่วนใหญ่ใช้แต่เฟซบุ๊ก บทความหรืออะไรต่อมิอะไรเขียนในเฟซบุ๊กซะหมด และตอนนี้งานตัวเอง + งานวิจัยเพื่อส่วนรวมก็หนักหน่วงมาก คิดว่าอีกสักพักใหญ่คงเอาอะไรที่เขียนในโน้นมาเผยแพร่ที่นี่บ้าง คงคัดลอก + เขียนเสริมเอาใหม่เลยแทนที่จะฝังโค้ดมา แล้วก็วางลิงค์อ้างอิงไว้โดยไม่เป็นไฮเปอร์ลิงค์ดีกว่า จะได้ไม่มีปัญหาทีหลัง (ว่าทำเว็บ/บล็อกนี้เพื่อเป็นฟาร์มแบ็คลิงค์หรือย่างไร เพราะไม่ได้อยากจะทำแบบนั้น) หลายอย่างบอกจะทำเกี่ยวกับที่นี่ แต่ก็ยังไม่มีโอกาสจะได้ลงมือซะที
เอาจริง ๆ ผมไม่อยากให้เรามีวัฒนธรรมหนุนเด็ก ๆ ให้นิยมความมีอำนาจหน้าที่โดยไม่มีทักษะ . . . การมีหรือแผ่ขยายอำนาจ เป็นบริบทแบบที่เรียกกันว่า "เข้าสังคม" ซึ่งมันเริ่มด้วยแนวคิดมักง่ายแบบ "จงมีคอนเนคชั่น" ..และดันเป็นการซื้อหา จัดหา ไม่ใช่ว่าสร้างความสัมพันธ์เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกันจริง ๆ อย่างการปลูกฝังความซืื่อสัตย์ขึ้นมา, แต่กลับใช้วิธีคัดเลือกแบ่งชนชั้น และความเห็นด้วยไม่เห็นด้วยกับการเลือกชนเลือกชั้น . . . การใช้อำนาจผ่านคอนเนคชั่นที่พร้อมแทงกันข้างหลัง ..เป็นทักษะเดียวที่พวกเขามีกันอยู่ ไม่ว่าจะเปลี่ยนไปกี่ทศววรษ หรือศตวรรษ . . . คอนเนคชั่นที่มีขึ้นเพื่อแทงหลังคนในชั้นเดียวกัน ทั้งไม่ซื่อสัตย์อย่างชัดเจน และน่าสมเพช แม้แต่ระดับกระทรวงทบวงกรมของรัฐ นิยมอำนาจ เพราะขาดทักษะ . . . ทักษะคือปัญญา อำนาจไม่ใช่ปัญญา ยิ่งใช้ยิ่งดื้อ ยิ่งโง่ และสิ้นเปลือง . . . บางกลุ่มชน ใช้หลักการของ "สิทธิ" มาเปรี้ยวหาอำนาจให้ตัว ใช้คำจนฟุ้งเฟ้อกระทั่งฟุ้งซ่าน, ทักษะก็มลายหายสิ้น สุดท้ายทำเป็นแต่การประท้วง เรียกร้อง บีบบังคับ ใช้บางสิ่งหรือบางคนต่อรองราวกับตัวประกัน

การตรวจสอบอีเมลปลอมที่เป็น PayPal หรืออื่น ๆ

Image
วิธีตรวจ เช็คอีเมลเมื่อไหร่ แค่เห็นจากหน้ารวมอินบ็อกซ์ไม่พอครับ เพราะส่วนของชื่อผู้ส่งกรณีอ่านแล้วไม่ใช่ชื่อสกุลบุคคล สามารถหลอกเราได้ (เช่นมาเป็นชื่อหรืออีเมลแอดเดรสของหน่วยงานหรือกิจการ) ต้องเปิดอีเมลเข้าไปดูเสมอ โดยส่วนที่ต้องดู "จุดเดียวเท่านั้น" (ก่อนจะตัดสินใจอ่านเนื้อหา) คือ ลิงค์หรือหัวลูกศรใต้ชื่อผู้ส่งลงมา (จากบนสุด) ที่เขียนว่า "แสดงรายละเอียด, คลิกเพื่อดูรายละเอียด, Details" โดยที่เราดูที่ "ส่วนท้ายหลัง @ ของอีเมลแอดเดรสเท่านั้น" ..ในกรณี PayPal ถ้าหากหลัง @ ไม่ใช่ @intl.paypal.com หรือ @paypal.com หรือ @paypal-exchanges.com หรือ @mail.paypal.com หรือ @e.paypal.com บุคคลอื่นและ/หรือบริษัทอื่นไม่สามารถจดโดเมนซ้ำกันได้ ถ้าเห็นกับตาแล้วว่าไม่ใช่ 2 อันนี้ ให้ปิดหรือลบอีเมลนี้ทิ้งได้เลย ไม่ต้องสนใจว่าชื่อแอดเดรสส่วนหน้าเครื่องหมาย @ จะเขียนว่าอะไรให้จิตใจเราไขว้เขวได้ด้วยซ้ำไป ถ้าการตรวจสอบตามข้อ 2 ให้ผลออกมาว่าหลังเครื่องหมาย @ ของอีเมลผู้ส่งจริง ๆ ในดีเทลไม่ตรงกับทั้ง 2 อันนั้น, ก็ไม่จำเป็นต้องอ่านเนื้อหาของอีเมลเลยครับ. และสิ่งที่ทาง PayP

ตั้งค่า Public คือสิทธิ์แบบไหน และทำไมต้อง 1:1

Image
1 ต่อ 1 เท่านั้นครับ เข้าถึงเนื้อหาผ่านหน้าจอหรืออุปกรณ์ส่วนบุคคล โดยผู้ถือมีกรรมสิทธิ์ในตัวอุปกรณ์นั้นโดยตรง เป็นการไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนผู้อื่นที่ไม่ใช่เจ้าของอุปกรณ์ เช่น เยาวชนอายุไม่ถึง 13 ปี ลูก หลาน เพื่อน ญาติ บุคคลในครอบครัว และสาธารณชน เนื่องจากบางที่ตั้งของเนื้อหาอาจมีกลไกเชื่อมโยงโดยที่สามารถนำเข้าเนื้อหา ของบุคคลอื่น (บุคคลที่สาม) ที่มีความไม่เหมาะสมมาแสดงผลในอุปกรณ์ได้ เรื่องระดับอายุเยาวชนที่ 13 ปีนั้น มีที่มาทางกฎหมายจากข้อกำหนดทางสิทธิในการใช้งาน "ออนไลน์แอคเคาท์" ในหลายประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) มาจากการที่ธรรมชาติของเนื้อหาบนอินเตอร์เน็ตหรือเว็บไซต์ มักประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ส่วน 1.ตัวอักษร 2.ภาพถ่าย 3.ภาพกราฟิก 4.ตัวเล่นข้อมูลเสียง 5.ตัวเล่นข้อมูลภาพเคลื่อนไหว/มีและไม่มีเสียง ซึ่งอาจมีเนื้อหาหรือทิศทางของเนื้อหาและเจตจำนงที่ไม่เหมาะสม ปลุกระดม กระตุ้นให้เกิดการซื้อโดยขาดวิจารณญาณ สิทธิ์ในการทำธุรกรรม การสื่อสารถึงบุคคลอื่น อาชญากรรม ฯลฯ ซึ่งภาพรวมมีความซับซ้อนซึ่งอาจเป็นภัยต่อเยาวชน ระดับอายุที่มีการอนุญาตให้เริ่มต้นใช้งานออนไลน์

สิทธิ์อะไรของใครมี, รู้จักกับคอนเทนเนอร์

Image
ทำความรู้จักกับ "คอนเทนเนอร์" กันครับ สำเนาหรือสื่อบันทึกที่เป็น วัตถุกายภาพจับต้องได้ (physical media) นั้น นับเป็น "ฟิสิคอลคอนเทนเนอร์" ส่วนนามสกุลไฟล์ดิจิทัล หรือ "เอ็กซ์เทนชั่น" เช่น .wav .mp3 .exe และอื่น ๆ นั้น นับเป็น "ดิจิทัลคอนเทนเนอร์" ครับ คอนเทนเนอร์ ก็คือ กล่อง หรือ หีบบรรจุ ซึ่งเมื่อเราแกะกล่อง/ หีบบรจุนั้น เราก็จะพบหรือได้รับซึ่งสิ่ งที่อยู่ข้างใน ซึ่งก็คือ "เนื้อหา-สาระ" และแน่นอนเป็นสินค้าที่เราซ ื้อ ถ้าพูดถึงแผ่นหนัง/ แผ่นเพลง <--- span=""> , แผ่นเปล่าคือสินค้าอีกหมวดน ึงไปเลย ดิจิทัลคอนเทนเนอร์ หากเราเปิดด้วยเทคนิคทางคอม พิวเตอร์ "มันก็จะมีข้อมูลดิจิทัล คือ ไบนารีโค้ด ในนั้น". <--- span=""> คือตัวสินค้า/ เนื้อหา-สาระที่เราซื้อ เวลาที่เราซื้อพวกไฟล์ดิจิท ัลโดยตรง เช่นไฟล์หนัง ไฟล์เพลง ไฟล์ภาพกราฟิก ไฟล์ภาพถ่าย ไฟล์โปรแกรม (ซึ่งไฟล์เหล่านี้ เป็นคอนเทนเนอร์โดยตัวมันเอ งด้วยนามสกุลต่าง ๆ, แต่ก็มีการจำหน่ายคอนเทนเนอ ร์นี้ บันทึก/ บรรจุไว้ภายในฟิสิคอลคอนเทนเ นอร์เช่น